วันจันทร์ที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

ระบบฐานข้อมูล

แบบฝึกหัดที่1
แบบฝึกหัดบทที่ 1
ฐานข้อมูล Database
หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน  และนำมาจัดเก็บในที่เดียวกัน
ระบบฐานข้อมูล Database System
หมายถึง  ระบบการจัดเก็บข้อมูลที่มี
  ความสัมพันธ์กัน เกี่ยวข้องเป็นเรื่องเดียวกับรูปแบบเป็นระเบียบแบบแผน และจัดเก็บไว้ในที่เดียวกัน
ระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS) Database Management System
  หมายถึง  โปรแกรมที่ทำหน้าที่ในการกำหนดลักษณะ ข้อมูลที่จะเก็บไว้ในฐานข้อมูล เพื่ออำนวยความ             
  สะดวกในการบันทึกข้อมูลลงในฐานข้อมูล


วันที่ 6 มิถุนายน 2554
สรุปหน่วยการเรียนรู้ที่ 1
***ความหมายของฐานข้อมูล (Database)
ฐานข้อมูล
หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันและนำมาจัดเก็บในที่เดียวกัน  
ระบบฐานข้อมูล
 หมายถึง  ระบบการจัดเก็บข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน เกี่ยวข้องเป็นเรื่องเดียวกัน
รูปแบบเป็นระเบียบแบบแผน และจัดเก็บไว้ในที่เดียวกัน
ระบบจัดการฐานข้อมูล
หมายถึง  โปรแกรมที่ทำหน้าที่ในการกำหนดลักษณะ ข้อมูลที่จะเก็บไว้ในฐานข้อมูล เพื่ออำนวยความ             
 สะดวกในการบันทึกข้อมูลลงในฐานข้อมูล   
ประโยชน์ของฐานข้อมูล
ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล 
ความสอดคล้องของข้อมูล
ข้อมูลมีความถูกต้องมากขึ้น 
มีการใช้ข้อมูลร่วมกันได้  
เพิ่มความปลอดภัยให้กับข้อมูล 
ขจัดความขัดแย้งในการใช้ข้อมูลร่วมกัน
ข้อมูลที่จัดเก็บมีความทันสมัย
ข้อเสียของฐานข้อมูล
1.    เสียค่าใช้จ่ายสูง โปรแกรมที่ใช้ในระบบจัดการฐานข้อมูล มีราคาค่อนข้างแพงเครื่องคอมพิวเตอร์ต้องมีความเร็วสูง  
2. เกิดการสูญเสียข้อมูลได้ ข้อมูลจัดเก็บในที่เดียวกัน  ถ้าที่เก็บข้อมูลเกิดมีปัญหา อาจทำให้ต้องสูญเสียข้อมูลทั้งหมดในฐานข้อมูลได้ ดังนั้นการจัดทำฐานข้อมูลที่ดี ต้องมีการสำรองข้อมูลไว้เสมอ

หลักการออกแบบฐานข้อมูล
วัตถุประสงค์ในการสร้างระบบฐานข้อมูล
ต้องการใช้เพื่อทำอะไร และต้องการอะไรบ้างจากระบบนี
ถามความต้องการของผู้ใช้ ต้องการข้อมูลอะไรเข้าสู่ระบบ และผลลัพธ์ต้องการอะไรบ้าง
วิเคราะห์และรวบรวมข้อมูลที่จำเป็นทั้งหมด   
จัดกลุ่มข้อมูลที่ต้องการเก็บให้อยู่ในรูปแบบตาราง
วิเคราะห์ข้อมูลแต่ละตาราง กำหนดเขตข้อมูลให้ครบถ้วน

ระดับหน่วยของข้อมูล
บิท (Bit)  หมายถึง  หน่วยของข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด
ไบท์ (Byte) หมายถึง เกิดจากการนำบิทมารวมกันเป็นตัวอักษร
เขตข้อมูล หรือ ฟิลด์ (Field) หรือ แอตทริบิวต์ (Attribute)
หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่ประกอบด้วยหลาย ๆ ตัวอักษร
ระเบียน หรือ เรคอร์ด (Record)  หมายถึง
หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนำเอาเขตข้อมูลหลาย ๆ เขตข้อมูลมารวมกัน
แฟ้มข้อมูล (File) หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนำระเบียนหรือเอนทิตี้หลาย ๆ ระเบียนมารวมกันเป็น


ตอนที่1

1.ระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS) คืออะไร
ข.ตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับฐานข้อมูล

2.หลังจากที่สร้างฐานข้อมูลแล้ว จะต้องสร้างออบเจ็กต์ใดเป็นอันดับแรก
ก.Table
3.ออบเจ็กต์ใดที่ทำหน้าที่ในการเก็บข้อมูลทั้งหมดลงฐานข้อมูล
ค.Form
4.ออบเจ็กต์ Query มีหน้าที่ทำอะไร
ค.สร้างแบบสอบถามข้อมูล

5.ข้อใดต่อไปนี้เป็นหน้าที่ของออบเจ็กต์ Form
ข.เก็บข้อมูลลงฐานข้อมูล

6.ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ กฏของการ Normalization
ข.จะต้องมีความสัมพันธ์แบบเชิงกลุ่ม(Many to Many)
7.ข้อใด ไม่ใช่ ประโยชน์ที่ได้รับของระบบฐานข้อมูล
ค.ข้อมูลที่จัดเก็บมีความทันสมัย

8.ขั้นตอนใดต่อไปนี้เป็นขั้นตอนแรกในการออกแบบฐานข้อมูล
ก.กำหนดวัตถุประสงค์ในการใช้งาน

9.ส่วนประกอบต่อไปนี้เพิ่มเข้ามาใหม่ใน Access 2007 ยกเว้น ข้อใด
ง.Ribbon
10.ข้อใดต่อไปนี้ กล่าวผิด
ก.เมื่อบันทึกฐานข้อมูลในAccsee 2007จะมีนามสกุลเป็น.accdb
ตอนที่ 2
1.DBMS                             à  ช.ระบบจักการฐานข้อมูล
2.Normlization                 à   จ.กฎที่ใช้ในการออกแบบตาราง
3.Office  Botton                à    ซ.ปุ่มที่รวบรวมชุดคำสั่งในการจัดการฐานข้อมูล
4.Quick Access Toolbar    à   ญ.แถบเครื่องมือที่รวบรวมเครื่องมือที่ใช้งานบ่อยๆ
5.Ribbon   à  ฌ.ส่วนการทำงานใหม่ที่เข้ามาแทนที่แถบเมนูและแถบเคื่องมือ
6.Navigation Pane   à   ก.แถบในการแสดงออบเจ็กต์ที่สร้างขึ้น
7.Document Window   à   ค.ส่วนของพื้นที่การทำงานของออบเจ็กต์ต่างๆ
8.Query   à    ข.แบบสอบถามข้อมูล
9.Macro   à    ง.ชุดคำสั่งกระทำการต่างๆ ที่นำมารวมกัน
10.Module   à   ฉ .โปรแกรมย่อยที่เขียนขึ้นภาษา VBA

ตอนที่ 3
1.จงอธิบายถึงความหมายของฐานข้อมูล
***ฐานข้อมูล คือข้อมูลจำนวนมากที่มีการจัดเก็บไว้ต่างเป็นระเบียนในลักษณะของตารางข้อมูลแต่ละตารางที่มีอยู่นั้นมีความสัมพันธ์กัน
2.ระบบฐานข้อมูลมีประโยชน์อย่างไรบ้าง
***1. ลดความซับซ้อนของข้อมูล
2. ทำให้เกิดความสอดคล้องข้อมูล
3. สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้
4. มีความปลอดภัย
3.ใน Microsoft Access 2007 ประกอบไปด้วยออบเจ็กต์อะไรบ้าง และมีหน้าที่อย่างไร
***1. Table ใช้ในการเก็บข้อมูลทั้งหมด
2. Queries ช่วยค้นหาหรือสร้างแบบสอบถามข้อมูล
3. Froms แบบฟอร์มในการทำงาน สำหรับจัดการกับข้อมูลแทนการจัดการในตาราง
4. Reports ใช้ในการสร้างรายงาน
5. Modules ช่วยให้ทำงานกับข้อมูลที่ซับซ้อนมากขึ้นได้
4.จงอธิบายหลักการออกแบบฐานข้อมูลมาพอเข้าใจ
*** กำหนดวัตถุประสงค์ว่าต้องใช้ข้อมูลเรื่องใด ใช้เพื่อทำอะไร ต้องการอะไร สอบถามความต้องการจากผู้ใช้ วิเคราะห์ข้อมูลที่จำเป็นจัดกลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลแต่ละตาราง วิเคราะห์โครงสร้างข้อมูล กำหนดชนิดข้อมูล กำหนดความสัมพันธ์
5.จงยกตัวอย่างระบบงานที่ควรนำ ระบบฐานข้อมูลมาใช้จงอธิบายเหตุผล
***ข้อมูลพนักงาน มีพนักงานในบริษัทแต่ล่ะบริษัทมีพนักงานไม่ต่ำกว่า500คนเราจิงต้องเอา ระบบฐานข้อมูลมาใช้ในการจัดเรียงรายชื่อพนักงาน เช่น ตามตัวอักษร ตามตำแหน่งงาน ตามเงินเดือน เป็นต้น

แบบฝึกหัดบทที่ 4 การสร้างฟอร์ม (Form)
1. ความหมายของฟอร์ม (Form)
     ตอบ
 คือ  หน้าจอสำหรับติดต่อกับผู้ใช้งาน ที่สร้างขึ้นมาเพื่อนช่วยให้ผู้ใช้ทำงานกับข้อมูลในตารางได้สะดวกกว่าการใช้มุมมองแผ่นตารางข้อมูล (Datasheet View) และยังช่วยเพิ่มความสวยงามให้กับแอปพลิเคชั่นที่ได้สร้างขึ้นมาอีก
2. ประเภทของฟอร์มมีกี่แบบ อะไรบ้าง
ตอบ    มี 5 แบบ   คือ 
1.ฟอร์มแบบคอลัมน์ (Columnar Form) หรือฟอร์มเดี่ยว ซึ่งเป็นฟอร์มที่แสดงข้อมูล หนึ่งเรดคอร์ดต่อหนึ่งหน้าของฟอร์ม
2.ฟอร์มแบบตาราง(Tabular Form) เป็นฟอร์มที่แสดงข้อมูลทุกเรดคอร์ด
3.ฟอร์มแบบแผ่นตารางข้อมูล (Datasheet Form) เป็นฟอร์มที่แสดงทุกเรดคอร์ดในลักษณะแผ่นตาราง เช่นเดียวกับตาราง (Table)
4.ฟอร์มแบบตารางสรุปข้อมูลหลายมิติ(Pivot Table Form) เป็นฟอร์มที่ใช้แสดงข้อมูลหลายมิติหรือหลายฟิลด์ ทำให้สามารถดูข้อมูลได้ง่ายและสะดวกยิ่งขึ้น
5.ฟอร์มแบบแผนภูมิสรุปข้อมูลหลายมิติ(Pivot Chart Form) เป็นฟอร์มที่ใช้แสดงข้อมูลในลักษณะแผนภูมิ ซึ่งสามารถดูข้อมูลได้หลายฟิลด์ที่ต้องการ
3. มุมมองของฟอร์มมีกี่มุมมอง อะไรบ้าง
      ตอบ      3 มุมมอง คือ
1.มุมมองเค้าโครง (Layout View) เป็นมุมมองใหม่ที่เพิ่มเข้ามาใน Access 2007 ซึ่งคล้ายกับมุมมองการออกแบบตรงที่สามารถจัดรูปแบบของฟอร์มได้ในบางส่วน เช่น การกำหนดสี ปรับขนาดอักษร ปรับขนาดฟิลด์ เป็นต้น แต่แสดงข้อมูลคล้ายในมุมมองฟอร์ม
2.มุมมองการออกแบบ (Design View) เป็นมุมมองสำหรับสร้างและออกแบบฟอร์ม
3.มุมมองฟอร์ม (Form View) เป็นมุมมองในการแสดงผลข้อมูลและใช้งานฟอร์ม ซึ่งไม่สามารถแก้ไขฟอร์มได้
4. เครื่องมือที่ใช้ในการจัดรูปแบบฟอร์มมีอะไรบ้าง   
      ตอบ    10 รูปแบบ คือ
        1. ปุ่ม Form (ฟอร์มแบบคอลัมน์) เป็นคำสั่งแสดงข้อมูลทีละ 1 เรคคอร์ด
        2. ปุ่ม Split Form (ฟอร์มแยก) สามารถเห็น 2 มุมมองในเวลาเดียวกัน คื
            อมุมมองฟอร์มและมุมมองแผ่นตารางข้อมูล แสดงรายการของเรคคอร์ดทั้งหมด
        3. ปุ่ม Multiple Items (หลายรายการ) สร้างฟอร์มแบบตาราง
        4. ปุ่ม PivotChart เป็นการสร้างแผนภูมิ เพื่อสรุปผลข้อมูลแบบหลายมิติ
        5. ปุ่ม From Wizard (ฟอร์มเพิ่มเติม--
>ตัวช่วยสร้างฟอร์ม) ใช้เครื่องมือช่วยสร้าง

       ตอนที่ 3 แบบอัตนัย
1. การสร้างรายงานมีกี่แบบ อะไรบ้าง และแต่ละแบบมีประโยชน์อย่างไร
     ตอบ   มี 3 แบบ คือ
         1. รายงานแบบคอลัมน์ (Columnar Report) เรียงฟิลด์แต่ละเรคคอร์ดจากบนลงล่างทีละ 1 เรคคอร์ด
   2. รายงานแบบตาราง (Tabular Report) แสดงแบบแถวและคอลัมน์ แสดงข้อมูลทุกเรคคอร์ดใน 1 หน้ารายงาน
      โดยเรียงจากซ้ายไปทางขวาของรายงาน
   3. รายงานแบบป้ายชื่อ (Label Report) สำหรับพิมพ์ป้ายฉลากต่าง ๆ เช่น ฉลากติดซองจดหมาย เป็นต้น
2.  จงบอกถึงส่วนประกอบของรายงาน และแต่ละส่วนมีหน้าที่อะไร
      ตอบ    1.  Report Header คือ พื้นที่ในส่วนหัวของรายงาน เป็นส่วนที่ใช้ในการแสดงข้อความหรือรายละเอียดที่ต้องการแสดงในหน้าแรกของรายงานเท่านั้น เช่น โลโก้ของรายงาน แสดงชื่อรายงาน เป็นต้น
      2.Page Header คือ พื้นที่ในส่วนหัวของหน้ากระดาษ เป็นส่วนที่ใช้ในการแสดงข้อความหรือรายละเอียดที่ต้องการแสดงในทุกๆหน้าของรายงาน เช่น แสดงชื่อกำกับฟิลด์(รายงานแบบตาราง) แสดงเลขหน้าเป็นต้น
      3. Detail คือ พื้นที่ในการแสดงข้อมูลที่ดึงมาจากฐานข้อมูล ทั้งในตารางและในแบบสอบถามข้อมูล
      4. Page Footer คือ พื้นที่ในส่วนท้ายของกระดาษ เป็นส่วนที่ใช้ในการแสดงข้อความ
 หรือรายละเอียดที่ต้องการแสดงในทุกๆหน้าของรายงาน เช่น แสดงเลขหน้า เป็นต้น
       5. Report Footer คือ พื้นที่ในส่วนท้ายของรายงาน เป็นส่วนที่ใช้ในการแสดงข้อความหรือรายละเอียดที่ต้องการแสดงในหน้าสุดท้ายของรายงานเท่านั้น เช่น แสดงผลการคำนวณ แสดงวันที่จัดพิมพ์ เป็นต้น
        3.  จงอธิบายขั้นตอนการสร้างรายงานแบบ Report Wizard
             ตอบ    1. คลิกที่แท็บ Create
  2.คลิกเลือก Report Wizard ในกลุ่มของ Reports
  3.เลือกตารางหรือแบบสอบถามข้อมูลที่ต้องการนำมาสร้างรายงาน
 4.คลิกเลือกฟิลด์ที่ต้องการ แล้วคลิกปุ่ม > เพื่อเลือกทีละฟิลด์ หรือคลิกปุ่ม >> เพื่อนเลือกฟิลด์ทั้งหมด
 5.แล้วคลิกปุ่ม Next>
 6.เลือกข้อมูลที่ต้องการแสดงรายละเอียด
 7.แล้วคลิกปุ่ม Next>
 8.เลือกฟิลด์ที่ต้องการ แบ่งกลุ่มข้อมูล แล้วคลิกที่ปุ่ม >เพื่อเลือกฟิลด์
 9.แล้วคลิกปุ่ม Next>
 10.เลือกฟิลด์ที่ต้องการเรียงลำดับ ถ้าต้องการเรียงลำดับข้อมูลจากน้อยไปหามากให้คลิกที่ปุ่ม Ascendingและคลิกที่ปุ่มDescending  ถ้าต้องการเรียนจากมากไปหาน้อย
 11.แล้วคลิกปุ่ม Next>
 12. เลือกรูปแบบตำแหน่งการจัดวางรายงานที่ Layoutและที่Orientationเลือกแนวกระดาษเลือก Portraitสำหรับแนวตั้งและ Landscape สำหรับแนวนอน
 13.แล้วคลิกปุ่ม Next>
 14.เลือกสไตล์หรือรูปแบบรายงานที่ต้องการ
 15.แล้วคลิกปุ่ม Next>
 16.ตั้งชื่อรายงานที่ต้องการ และเลือกการแสดงผลรายงานในมุมมองตัวอย่างก่อนพิมพ์หรือมุมมองในการแก้ไขรายงาน
 17.แล้วคลิกปุ่ม Finish
       4.อธิบายขั้นตอนการสร้างรายงานแบบ Label Wizard
     ตอบ  1. คลิกที่แท็บ Create
2.เลือกตารางหรือแบบสอบถามข้อมูลที่ต้องการนำมาสร้างเลเบล
3.คลิกที่ปุ่ม Labelsในกลุ่มของ Reports จากนั้นจะแสดงหน้าจอให้เลือกขนาดของเลเบล
4.เลือกขนาดของแถบที่ต้องการ ซึ่งถ้าหารต้องการกำหนดขนาดของเลเบลใหม่ให้คลิกที่ปุ่ม Customize แล้วกำหนดขนาดใหม่
5.แล้วคลิกปุ่ม Next>
6.กำหนดรูปแบบที่ต้องการแสดง
7.แล้วคลิกปุ่ม Next>
8.คลิกเลือกฟิลด์ที่ต้องการแสดงในเลเบล โดยคลิกปุ่ม > เพื่อเลือกข้อมูล ซึ่งถ้าหากต้องการเว้นวรรคในแต่ละฟิลด์ ให้กดปุ่ม Spacebar ที่แป้นพิมพ์ และถ้าต้องการขึ้นบรรทัดใหม่ก็สามารถกดปุ่ม Enterได้
9.แล้วคลิกปุ่ม Next>
10.เลือกฟิลด์ที่ต้องการเรียงลำดับข้อมูลใน เลเบล โดยคลิกปุ่ม > เพื่อเลือกฟิลด์ข้อมูล
11.แล้วคลิกปุ่ม Next>
12.ตั้งชื่อรายงานและเลือกการแสดงผล เลเบล ในมุมมองตัวอย่างก่อนพิมพ์หรือมุมมองในการแก้ไขเลเบล
13.แล้วคลิกปุ่ม Finish
5.จงบอกถึงข้อดีและข้อเสียของรายงานแบบอัตโนมัติ
ตอบ          ข้อดี                                        ข้อเสีย
      -สะดวกรวดเร็ว     - ไม่สามารถแก้ไขข้อมูลในตารางได้ในขณะที่พิมพ์ออกมาได้แบบฟอร์
     -สามารถคำนวณข้อมูลได้
     -สามารถพิมพ์ออกมาได้
26/06/54
ตอนที่ 1 
1.ข้อใดกล่าวถึงความหมายของตาราง (Table) ได้ชัดเจนที่สุด
ตอบ     . ฐานข้อมูลใน Access
2.ข้อใดต่อไปนี้ กล่าวผิด
ตอบ   . Attachment เป็นชนิดข้อมูลสาหรับสร้างจุดเชื่อมโยงไปยังไฟล์
3.ฟิลด์ (Field) หมายถึงอะไร
ตอบ  . คอลัมน์
4.เรคอร์ด (Record) หมายถึงอะไร
ตอบ   . แถว
5.ชนิดข้อมูลแบบข้อความ (Text) สามารถเก็บข้อมูลได้สูงสุดกี่ตัวอักษร
ตอบ    ค. 255
6.ถ้าต้องการกำหนดฟิลด์ในการเก็บข้อความจำนวนมากๆ จะต้องเลือกชนิดข้อมูลแบบใด
ตอบ   . Memo
7.มุมมองที่ใช้ในการสร้างตารางด้วยการออกแบบเองคือมุมมองใด
ตอบ  . Design View
8.ชนิดความสัมพันธ์ของตารางมีกี่แบบ
ตอบ     ค. 255
9.ข้อใดต่อไปนี้ ไม่สามารถ นามาประกอบในการตั้งชื่อฟิลด์ข้อมูลได้
ตอบ    . 4 แบบ
10.ถ้าต้องการเรียงลาดับข้อมูลในตารางจากน้อยไปหามาก จะต้องใช้เครื่องมือใด
ตอบ  . Ascending

ตอนที่ 2   
1. Field           #         . ข้อมูลในแนวคอลัมน์
2. Record         #       . ข้อมูลในแนวแถว
3. Memo             #     . เก็บข้อมูลประเภทข้อความที่มีความยาวมาก ๆ
4. OLE Object     #   . เก็บข้อมูลประเภทรูปภาพ
5. Currency          #    . เก็บข้อมูลที่เป็นตัวเลขทางการเงิน
6. Attachment      #  . เก็บเอกสารและแฟ้มไบนารี่ทุกชนิดในฐานข้อมูล
7. Input Mask       #    . กำหนดรูปแบบในการป้อนข้อมูล
8. Format             #    . กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล
9. Descending    #     . เรียงลาดับข้อมูลจากมากไปหาน้อย
10. Ascending    #     . เรียงลาดับข้อมูลจากน้อยไปหามาก

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น